Tag Archive target

Byphunsanit

PowerBuilder: Target ( Template Application )

วิธีสร้าง target application จาก template

  1. เปิด workspace ที่ต้องการขึ้นมาเช่น งานชิ้นใหม่ก็เปิดจาก development.pbw
  2. คลิก file
  3. คลิก Open..
  4. Browse ไปไฟล์ *.pbw ที่ต้องการ
  5. คลิก OK
  6. คลิก file
  7. คลิก New…
  8. ที่เท็บ Target เลือก Template Application
  9. คลิก OK
  10. หน้า About the Template Application Wizard
  11. คลิก Next >
  12. หน้า What you will do
  13. คลิก Next >
  14. หน้า Specify New Application and Library
    • Application Name: ใส่ชื่อ เช่น prototype_pb8
    • Library: ใส่ชื่อ Library ตัวหลักเช่น C:\UsersDatas\ProjectsGit\PrototypesPowerBuilder8\Source code\main.pb
    • Target: เช่น C:\UsersDatas\ProjectsGit\PrototypesPowerBuilder8\Source code\prototype_pb8.pb
  15. หน้า Specify Template Type เลือกชนิดของ application ที่ต้องการ
    • MDI Application with Microhelp
    • SDI Application
    • PFC-base application
  16. เลือก MDI
  17. คลิก Next >
  18. หน้า Adjust Application Library Search Path
  19. คลิก Next >
  20. หน้า Name MDI Frame and Menu
    • MDI Frame: ใส่ชื่อ เช่น w_main
    • MDI Frame Menu: เช่น m_main
  21. คลิก Next >
  22. หน้า Name MDI Base Sheet, Menu and Service
    • Base Sheet Window: เช่น w_basesheet
    • Sheet Menu: เช่น m_sheet
    • Sheet Manager Service: เช่น n_sheetmanager
  23. คลิก Next >
  24. หน้า Name individual Sheets
    • Sheet 1: เช่น w_sheet1
    • Sheet 2: เช่น w_sheet2
    • Sheet 3: เช่น w_sheet3
  25. คลิก Next >
  26. หน้า Assign Display Name to Sheets
    • W_sheet1 Title (1) : เช่น Untitled for Sheet 1
    • W_sheet2 Title (2) : เช่น Untitled for Sheet 2
    • W_sheet3 Title (3) : เช่น Untitled for Sheet 3
  27. คลิก Next >
  28. หน้า Name About Box and Toolbar Window
    • About Window: เช่น w_about
    • Toolbar Window: เช่น w_toolbars
  29. คลิก Next >
  30. หน้า Specify Connectivity
    • Requires SQL Database connection
    • Requires EAServer connection
    • None
  31. เลือก Requires SQL Database connection
  32. คลิก Next >
  33. หน้า Choose Database Profile
    • เลือก database ที่ต้องการ
  34. หน้า Specify Connectivity Source Info
    • Application INI file คือเก็บไว้ในไฟล์ .ini
    • Registry Settings ฝากไว้ในความจำของ windows
    • Script
    • Connection Service Object: เก็บไว้ในชื่อ เช่น n_connectservice
  35. คลิก Next >
  36. หน้า Name Application INI File
    • Application INI File: เช่น C:\UsersDatas\ProjectsGit\PrototypesPowerBuilder8\Source code\main.ini
  37. คลิก Next >
  38. หน้า Create Project?
    • No. create project later
    • Yes, Create project now
  39. เลือก Yes ซิจะได้ไปต่อ
  40. คลิก Next >
  41. หน้า Specify Project Object
    • Project: เช่น p_prototype_pb8_exe
  42. คลิก Next >
  43. Specify Executable and Resource Files
    • Executable File Name เช่น C:\UsersDatas\ProjectsGit\PrototypesPowerBuilder8\Source code\prototype_pb8.exe
    • Option Resource File (.pbr) เว้นไว้ก่อน
  44. คลิก Next >
  45. Specify Build Options จากจุดนนี้ไปทำเหมือนตอน build เอา
Byphunsanit

PowerBuilder: Deploy

การ Deploy โปรเจกต์ powerbuilder ไปยัง user สามารถทำได้โดยมีส่วนประกอบ 2 ส่วนด้วยกัน

  1. ไฟล์ *.exe
    • ชื่อไฟล์โดยปกติจะโดนระบุไว้ในไฟล์ *.pbt
    • ถ้าไม่มีการเพิ่มหรือลด library ใน target ก็ไม่จำเป็นต้องส่งไฟล์นี้ให้ user
  2. ไฟล์ *.pbd
    • เป็นไฟล์ที่เกิดจากการแปลงไฟล์ library ( *.pbl ) โดยจะมีชื่อเดียวกันแต่นามสกุล .pbd โดยจะอยู่ใน path เดียวกัน
    • สามารถนำไฟล์ pbd ไปแทนที่ไฟล์เดิมในเครื่อง user ได้ทันที ตัว .exe จะสามารถใช้ datawindow, function, window และส่วนประกอบอื่น ๆ ที่อยู่ใน library version นั้น ๆ ได้ทันที
    • ไฟล์ pbd อื่น ๆ สามารถเรียกใช้สิ่งที่อยู่ใน pbd อื่น ๆ ได้ ถ้ายังเป็นชื่อเดิม มี parameter เหมือนเดิม ถึงตัวมันเองจะเก่ากว่า หรือว่าใหม่กว่าไฟล์ pbd ตัวนั้น ๆ

ข้อดีจากคุณสมบัติของไฟล์ pbd และ exe ทำให้เวลาที่ส่งโปรแกม update ให้ user สามารถส่งบางฟีเจอร์ ไปให้ user แต่ละกลุ่มได้โดยการส่ง pbd ให้ต่างกัน กลุ่ม a อาจจะได้รับไฟล์ pbd ที่ใหม่กว่าเพื่อทดลองใช้ฟีเจอร์ใหม่ ๆ ในเมนูเดียวกันกับกลุ่ม b ที่ได้รับไฟล์ pbd เวอร์ชั่นก่อนหน้าที่ใช้งานได้ อาจจะไม่ดีนัก แต่ทำงานได้อยู่

Byphunsanit

PowerBuilder: Target

ตัวโปรแกรมจริง ๆ ของ powerbuilder ที่เอาไป build เป็น *.exe จะอยู่ในไฟล์ target โดยไฟล์นี่จะมีหน้าที่ลิสต์ Library ต่าง ๆ ที่ใช้ไว้

  1. เปิด workspace ที่ต้องการขึ้นมาเช่น งานชิ้นใหม่ก็เปิดจาก development.pbw
  2. คลิก file
  3. คลิก Open..
  4. Browse ไปไฟล์ *.pbw ที่ต้องการ
  5. คลิก OK
  6. คลิก file
  7. คลิก New…
  8. ที่เท็บ Target เลือก Application
  9. ระบุ
    • Application Name: เช่น prototypes_pb8 ย่อมาจาก Prototype Power Builder 8
    • Library: จะเป็นไฟล์ที่เก็บส่วนประกอบย่อย ต่าง ๆ เป็นกลุ่ม ๆ เหมือนห้องสมุดที่แบ่งเป็นห้องสมุดการแพทย์ก็อยู่ที่หนึ่ง ห้องสมุดเกี่ยวกับการเกษตรก็อยู่อีกที่ เช่น C:\UsersDatas\ProjectsGit\PowerBuilder\Prototype_PB8\common.pbl
      สาเหตุที่ไฟล์นี้ใช้คำว่า common เพราะตั้งใจจะไว้เก็บ function กลาง ไว้ใช้ทั้งโปรแกรม
    • Target: จะเป็นชื่อไฟล์ .exe ที่จะ build ขึ้นมา เช่น C:\UsersDatas\ProjectsGit\PowerBuilder\Prototype_PB8\prototypes_pb8.pbt

เมื่อเปิดโพลเดอร์ C:\UsersDatas\ProjectsGit\PowerBuilder\Prototype_PB8 จะเห็นอยู่ 2 ไฟล์ main_pb8.pbt และ common.pbl ที่จะอธิบายต่อไป

Byphunsanit

PowerBuilder: new project / open project

ไฟล์ project ของ PowerBuilder จะมีนามสกุล *.pbw ย่อมาจาก PowerBuilder Workspace เป็นไฟล์ที่จะบันทึก กลุ่มของ target ไว้ภายใน โดยไฟล์ *.pbw จะสามารถมี target ภายในได้มากกว่า 1 และ target เดียวกันสามารถอยู่ได้ในหลาย worksapce

สามารถสร้างใหม่ได้โดย

  1. คลิก file
  2. คลิก New…
  3. ที่เท็บ Workspace คลิก Workspace คลิก OK
  4. ตั้งชื่อที่ต้องการ
  5. คลิก save

โดยผมเลือกสร้าง workspace ไว้ 3 กลุ่มดังนี้

  • development สำหรับพัฒนาโปรแกรม
  • production งานที่ build ให้ user จะอยู่ในนี้
  • prototype สำหรับทดลองแนวทางต่าง ๆ ง่าย ๆ เร็ว ๆ

ในครั้งต่อไปที่เปิดโปรเจกต์ต้องเปิดจากไฟล์ตัวนี้ ไม่อย่างนั้นจะหาส่วนต่างๆ ไม่เจอได้

ตอนต่อไป PowerBuilder: Target