หลัง update windows มันมีอะไรแปลกๆ เพิ่มขึ้นมาอย่างหนึ่ง คือพยากรณ์อากาศตรง task bar คิดว่าคนที่ต้องการจะดูมันตลอดทั้งวันนี้คงมีน้อยมากๆ เอาออกไปเหอะ
- คลิก task bar
- ไปที่ News and interests
- คลิก turn off
notebook สมัยนี้หลายๆเครื่องไม่มี drive dvd / cd ติดมาแล้ว ขณะเดียวกัน flash drive มันถูกมากแค่อันละ 200 ก็พอที่จะใช้ลง windows xp, windows 7, windws 8, windows 10, linux แถม linux อีกตัวก็ยังได้เลย
เพิ่ม os / boot cd ได้โดย
ถ้าต้องการเพิ่มตัวติดตั้งหรือลบออกไปก็สามารถนำ flash drive มาเสียบกับคอมพิวเตอร์เครื่องไหนก็ได้ ไม่ต้องเป็นเครื่องเดิมในครั้งแรก จะเห็นรายชื่อ ด้านซ้ายมือ สามารถเลือกและคลิก Uninstall Distro เพื่อลบออกไป หรือถ้าต้องการเพิ่มเข้าไปใหม่ ก็ download มาแลัวเริ่ม Step 1 อีกครั้ง
ใครที่ใช้ iPhone / iPad ความจุสูงๆหน่อยไปซักพักจะเจอปัญหา iCloud เต็ม หรือจะเอาเครื่องไปเครมต้องสำรองข้อมูลเก็บไว้ มีทางเลือก 4 วิธีคือ
เราจะใช้ NTFS junction point โดย junction points คือ เหมือนกับเราทำ shortcut ไว้เปิดไฟล์ตามที่ต่างๆ ไม่ต้องเข้าไปเปิดในที่เก็บไฟล์จริงๆ แต่แทนที่จะเป็นไฟล์ กลับเป็นโฟลเดอร์แทน ให้เหมือน folder อยู่ที่เดิม แต่จริงๆ แล้วมันวาร์ปไปเก็บไว้คนละที่ คนละ drive เลยก็ได้
Windows ที่สามารถทำได้ คือ Windows 2000/XP/2003/Vista/2008/วินโดวส์ 7/8/8.1 คือ เกือบทุกตัวนั่นละ แต่ไม่ค่อยมีใครทราบ ไม่ต้องกลัวไม่ได้ยากมีวิธีที่ง่ายๆ
เสร็จแล้ว จะเห็นว่า จะมีไฟล์เพิ่มขี้นในที่ใหม่ เวลาเรา สั่งให้ iTunes backup ยังไงก็เร็วกว่าเอาข้อมูลสำรองไว้ในไอคลาวน์เยอะเลย ถูกกว่าด้วย (>‿◠)✌ หรือถ้าไม่อยากจะลงโปรแกรมก็ใช้ command ทำแบบ manual
http://www.iphoneapptube.com/tips-tricks/itunes-backup-drive-harddisk-tips
สิ่งที่น่าเบื่อสำหรับคนที่ลง dual boot สองระบบ linux และ windows คือขาใหญ่วินโดวส์ ไม่ยอมรับรู้ว่าโลกนี้มันมีน้องเล็กลีนุกซ์อยู่ในโลกด้วย ขณะที่เพนกวินพยามตามใจพี่ใหญ่ โดยยอมให้ติดตั้งตัวเองในวินโดวส์ หรือลงทีหลังแบบไม่ไปทับพี่ใหญ่ก็ได้ ขอแค่พื้นที่ 6 – 7 GB พออยู่อย่างเจียมเนื้อเจียมตัวก็แล้ว แต่เมื่อไหร่ลูกพี่ใหญ่วินโดวส์เค้ามีอันเป็นไป อยากเป็นจอฟ้าขึ้นมา ให้มีอันต้องลงใหม่ หรือออกรุ่นใหม่มาให้ยลและลิ้มลอง มันก็จะลบ grub (คือ boot loader ที่ทำให้เครื่องเดียวกันลงได้ทั้ง windows และ linux) ทีนี้ทำให้เราๆต้องมาลงวินโดวส์พร้อม linux ทบทวนวิชากันอีกครั้ง ทั้งที่ความจริง Linux ยังอยู่ดีมีสุขอย่างเดิมไม่ได้รับการกระทบกระเทือนใดๆ เลย แต่ไม่มีใครเห็นมันเท่านั้นเอง
เรากลับไปใช้มันได้ใหม่โดยก่อนอื่นต้องลง windows ให้เรียบร้อยก่อน จากนั้นใช้ linux live cd / dvd คือแผ่นลงลีนุกซ์นั้นละ บูทเครื่องแล้ว เราจะซ่อม grub โดยไปที่ command ตามนี้
sudo add-apt-repository ppa:yannubuntu/boot-repair && sudo apt-get update
กด Enter ใส่รหัสผ่านลงไป รอ…
sudo apt-get install -y boot-repair && boot-repair
กด Enter รอ…
มันจะมีหน้าต่างเปิดขึ้นมามากมายตระการตาไม่ต้องสนใจ ปล่อยๆ มันไปตามสบาย รอจนมีเมสเสจบอกว่าคุณ restart ได้ เอาแผ่นออกเริ่มระบบใหม่ได้เลย เปิดเครื่องอีกครั้ง grub จะกลับมาให้ใช้อีก ประหยัดเวลาลง tuk ได้อีกอย่างน้อยก็ชั่วโมงหนึ่ง
อ่านเพิ่มเติม
ช่างคอม โปรแกรมเมอร์ อาจจะต้องเข้าไปบางโพลเดอร์ใน windows บ่อยๆ แต่ตำแหน่งที่ตั้งอาจจะต่างกันเพราะว่า ใช้ชื่อผู้ใช้ user ต่างกัน หรือลง windows แบบ windows 2 ตัวในไดร์เดียวกัน เราสามารถใช้ Environment_variable ช่วยแก้ปัญหาได้ เช่นถ้าต้องการไปที่ โพลเดอร์ windows กดปุ่ม winkey พร้อมๆ กับ ตัว r พิมพ์ %WINDIR% แล้ว enter ก็จะเข้าไฟลเดอร์ที่ลง windows ไว้
Variable |
ความหมาย |
%ALLUSERSPROFILE% |
C:\ProgramData |
%APPDATA% |
C:\Documents and Settings\{username}\Application Data |
%COMPUTERNAME% |
{computername} |
%COMMONPROGRAMFILES% |
C:\Program Files\Common Files |
%COMMONPROGRAMFILES(x86)% |
C:\Program Files (x86)\Common Files |
%COMSPEC% |
C:\Windows\System32\cmd.exe |
%HOMEDRIVE% |
C: |
%HOMEPATH% |
C:\Documents and Settings\{username} |
%LOCALAPPDATA% |
C:\Users\{username}\AppDataLocal |
%LOGONSERVER% |
\\{domain_logon_server} |
%PATH% |
C:\Windows\system32;C:\Windows;C:\Windows\System32;{program paths} |
%PATHEXT% |
.com;.exe;.bat;.cmd;.vbs;.vbe;.js;.jse;.wsf;.wsh;.msc |
%PROGRAMFILES% |
C:\Program Files |
%PROGRAMFILES(X86)% |
C:\Program Files (x86) (only in 64-bit version) |
%PROMPT% |
Code for current command prompt format. Code is usually $P$G |
{Drive}:$Recycle.Bin |
C:\Recycle.Bin |
%SystemDrive% |
C: |
%SystemRoot% |
C:\Windows |
%TEMP% or %TMP% |
C:\Documents and Settings\{username}\Local Settings\Temp |
%USERDOMAIN% |
{userdomain} |
%USERNAME% |
{username} |
%USERPROFILE% |
C:\Documents and Settings\{username} |
%WINDIR% |
C:\Windows |
%PUBLIC% |
%SystemDrive%\UsersPublic |
%PROGRAMDATA% |
%SystemDrive%\ProgramData |
%PSModulePath% |
%SystemRoot%\system32\WindowsPowerShell\v1.0\Modules; |
Variable |
ความหมาย |
%ALLUSERSPROFILE% |
C:\ProgramData |
%APPDATA% |
C:\Users\{username}\AppData\Roaming |
%COMPUTERNAME% |
{computername} |
%COMMONPROGRAMFILES% |
C:\Program Files\Common Files |
%COMMONPROGRAMFILES(x86)% |
C:\Program Files (x86)\Common Files |
%COMSPEC% |
C:\Windows\System32\cmd.exe |
%HOMEDRIVE% |
C: |
%HOMEPATH% |
\Users\{username} |
%LOCALAPPDATA% |
|
%LOGONSERVER% |
\{domain_logon_server} |
%PATH% |
C:\Windows\system32;C:\Windows;C:\Windows\System32\{program paths} |
%PATHEXT% |
.COM;.EXE;.BAT;.CMD;.VBS;.VBE;.JS;.WSF;.WSH |
%PROGRAMFILES% |
%SystemDrive%\Program Files |
%PROGRAMFILES(X86)% |
%SystemDrive%\Program Files (x86) (only in 64-bit version) |
%PROMPT% |
Code for current command prompt format. Code is usually $P$G |
{Drive}:$Recycle.Bin |
{Drive}:Recycle.Bin |
%SystemDrive% |
C: |
%SystemRoot% |
The Windows directory, usually C:\Windows, formerly C:\WINNT |
%TEMP% or %TMP% |
%SystemDrive%\Documents and Settings{username}\Temp |
%USERDOMAIN% |
{userdomain} |
%USERNAME% |
{username} |
%USERPROFILE% |
%SystemDrive%\Documents and Settings\{username} |
%WINDIR% |
C:\Windows |
ดูเพิ่มเติม